เกล็ดความรู้การรับประทานอาหารที่ดี

ในวงการในสมัยเดิมพวกเราในฐานะนักโภชนาการนักวิจัยโภชนาการเชื่อว่าการรับประทานอาหารมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณแคลอรี่ที่เรารับประทานก็คือว่าถ้ารับประทานแคลอรี่เท่านี่1พันแคลอรี่ออก1พันแคลอรี่เราก็จะเราก็จะไม่อ้วนอันนั้นมันเป็นความคิดในสมัยเดิมๆแต่ในปัจจุบันเราพบแล้วว่าการรับประทานอาหารถึงแม้ว่าปริมาณที่เราได้รับประทานอาหารเข้าไปมันยังคงเหมือนเดิม

โดยสิ่งที่มันจะเป็นกลไกลที่ทำให้ผลของมันนั้นมันไม่เหมือนเดิมก็คืออายุของเราที่เปลี่ยนไปรูปแบบการรับประทานที่เปลี่ยนไปกิจวัตรประจำวันที่เปลี่ยนแปลไปรวมวไปถึงระยะเวลาการนอนของแต่ละที่คนเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นเดียวกัน

ซึ่งในวันนี้เราก็ได้ข้อมูลมาจากงานวิจัยที่ได้ทำการตีพิมพ์ในเดือนนี้วิธีในการวิจัยก็คือว่าก็ได้เอาอาสาสมัครของกลุ่มนั้นเอามาเปรียบเทียบพฤติกรรมในการรับประทานอาหารเปรียบเทียบในช่วงระยะเวลาหนึ่งรับประทานอาหารแบบเดียวกันแต่ว่ารับประทานมื้อทุกท้ายตอน6โมงเย็นแล้วก็นอนตอน5ทุ่ม

เนื่องจากเราจะนำเอามาเปรียบเทียบในช่วงเวลาอีกแบบหนึ่งของคนๆเดิมโดยจะให้เขานั้นได้รับประทานช่วงตอน4ทุ่มแล้วพอรับประทานไปซักระยะหนึ่งก็นอนในตอน5ทุ่มในระยะเวลาเดียวกันทีนี้ในการศึกษานี้ผลของการศึกษานี้มันดูน่าสนใจ

เพราะว่าผลของการศึกษานั้นมันได้แสดงให้เห็นแล้วว่าเวลาที่คุณนั้นได้รับประทานอาหารดึกถึงแม้ว่าแคลอรี่มันจะเท่ากับในช่วงระยะเวลาที่คุณนั้นได้รับประทานอาหารตอน6โมงเย็นหรือ1ทุ่มแต่ระยะเวลาของคุณในการรับประทานอาหารเสร็จแล้วคุณนอนมันสั้นและมันจะมีค่าของน้ำตาลในเลือดในแต่ละช่วงเวลา

นอกจากนี้มันจะบอกได้ว่าการรับประทานอาหารที่ปริมาณเท่าๆกันในระดับของการหลั่งอินซูลินมันไม่ได้มีความแตกต่างกันแต่ว่าในระดับของค่ากลูโคสมันแตกต่างกันภาวะลักษณะนี้มันจะเกิดขึ้นในคนที่เป็นภาวะดื้อต่อออินซูลินก็คือปริมาณอินซูลินมันยังคงทำงานแต่ว่าควบคุมระดับน้ำตายไม่ดี

ดังนั้นในความหมายในนัยของงานวิจัยนี้มันก็แสงดงให้เห็นว่าถ้าช่วงระยะเวลาการรับประทานอาหารของคุณมื้อสุดท้ายก่อนที่คุณนั้นจะขึ้นนอนเพราะบางคนขึ้นนอนแล้วยังไม่ได้นอนทันทีและในช่วงระยะเวลาที่คุณได้รับประทานมื้อสุดท้ายแล้วขึ้นนอนมันค่อนข้างที่จะสั้น

ซึ่งมันจะทำให้ระบบเผาผลาญของร่างกายมันจะเข้าสู่ในระยะที่เราเรื่องว่าไฮเบอร์เนตหรือว่าใกล้ๆที่จะนอนหลับไปแล้วการเผาผลาญนั้นมันจะลดลงแล้วถ้ากิจกรรมเหล่านี้รับประทานดึกแล้วนอนเร็วคือช่วงระยะเวลากับการนอนมันห่างกันแค่แบบเดียวมันก็จะส่งผลทำให้คุณน้ำหนักขึ้นแล้วก็ในระยะยาวในเลือดของคุณก็จะเลี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน